กิจกรรมการเรียนการสอน
ทางการศึกษาได้ให้ความหมายเด็กพิเศษ All Childrer Can Cearn! เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้สรุปได้ว่า
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ หมายถึง - เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจาการให้การช่วยเหลือและการสอนตามปกติ
- มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
- จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นช่วยเหลือการบำบัดฟื้นฟู
- จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ มี 10 ประเภท แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา เรียกโดยทั่วไปว่า " เด็กปัญญาเลิศ "
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
- มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
- จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นช่วยเหลือการบำบัดฟื้นฟู
- จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ มี 10 ประเภท แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา เรียกโดยทั่วไปว่า " เด็กปัญญาเลิศ "
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
1. เด็กบกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และเด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า - สามารถเรียนในชั้นเรียนได้ปกติ
- เด็กทที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา ( IQ ) ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนล่าช้า 1. ภายนอก
- เศรษฐกิจครอบครัว
- การเสริมสร้างประสบการณ์ของคนในครอบครัว
- สภาวะทางด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
- การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
- วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
2. ภายใน
- พัฒนาการช้า
- การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน - เด็กที่มีภาวะพัฒนาการหยุดชะงัก
- แสดงลักษณะเฉพาะ คือ ระดับสติปัญญาต่ำ
- มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย
- มีความจำกัดทางด้านทักษะ
- มีพัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีความสามารถจำกัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
เด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามระดับสติปัญญา ( IQ ) ได้ 4 กลุ่มลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา - ไม่พูดหรือพูดไม่สมกับวัย
- ช่วงความสนใจสั้น
- ความคิด อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย
- ทำงานช้า
- รุนแรงไม่มีเหตุผล
- อวัยวะมีรูปร่างผิดปกติกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
- ช่วยเหลือตนเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
2. เด็กบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องหรือเด็กที่สูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินแต่สามารถรับข้อมูลได้โดยใช้เครื่องช่วยฟังจำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
เด็กหูหนวก - เด็กที่สูญเสียการได้ยิน
- เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
- ไม่เข้าใจภาษาพูด
- ระดับได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน - ไม่ตอบสนองเสียงพูด
- ไม่พูดมักแสดงออกด้วยท่าทาง
- พูดไม่ถูกหลักไวยากรณ์
- พูดด้วยเสียงแปลก
- พูดด้วยเสียงต่ำหรือเสียงดังเกิน
- เวลาฟังมักมองปากของคนพูด
- รู้สึกไวต่อแรงสั่นสะเทือน
- มักทำหน้าเด๋อเมื่อมีการพูดด้วย
3. บกพร่องทางการมองเห็น - เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง
- มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
- สามารถมองเห็นได้ 1/10
- มีลานสายตากว้าไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และ เด็กตาบอดไม่สนิท เด็กตาบอด - ไม่สามารถมองเห็นได้เลยหรือมองเห็นบ้าง
- ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
- มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60 , 2/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
เด็กตาบอดไม่สนิท - มีความบกพร่องทางสายตา
- เห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติก
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการเห็น - ชนสดุดสิ่งของ
- มองสีผิดไปจากปกติ
- มักบ่นว่าปวดศีรษะ ตาลาย
- ก้มศีรษะชิดกับงาน
- เพ่งตา หรี่ตา
- ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
- แยกแยะรูปเรขาคณิตไม่ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น