วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15 (11/02/57)
** ไม่ได้เข้าเรียน **
** ไม่ได้เข้าเรียน **
เนื่องจากติดสอบวิชาการจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14 (04/02/57)
กิจกรรมการเรียนการสอน
การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
- Down's syndrome
- รักษาตามอาการ- แก้ไขความผิดปกติที่พบร่วมด้วย
- ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
- เน้นการดูแลแบบองค์รวม1. ด้านสุขภาพอนามัย
- บิดามารดาให้พาบุตรไปพบแพทย์ตั้งแต่เริ่มแรก ติดตามการรักษาเป็นระยะ
2. การส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กกลุ่มอาการดาวน์สามารถพัฒนาได้ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
3. การดำรงชีวิตประจำวัน
- ฝึกช่วยเหลือตนเองให้มาที่สุด
4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล ( LEP )
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะการดำรงชีวิตประจำวัน
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
การปฏิบัติของบิดามารดา
- ยอมรับความจริง
- เด็กกลุ่มอารดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอนเช่นเดียวกับเด็กทั่วไป
- ให้ความรักและความอบอุ่น
- การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม
- การคุมกำเนิดและการทำหมัน
- การสอนเพศศึกษา
- ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
- พัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์และภาษา
- สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
- สังคมยอมรับมากขึ้น ไปโรงเรียนร่วมหรือเรียนรวมได้
- ลดปัญหาพฤติกรรม
- คุณภาพชีวิตดีขึ้น
- Autistic
ส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว- ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการดูและช่วยเหลือเด็กออทิสติก
ส่งเสริมความสามารถเด็ก
- การเสริมสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย
- ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
การปรับพฤติกรรมและฝึกทักษะทางสังคม
- เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
- การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
- โดยเฉพาะในรายที่มีพัฒนาการด้านภาษาและสื่อความหมายล่าช้า
- ถ้าเด็กพูดได้เร็ว โอกาสที่จะพัฒนาการด้านภาษาใกล้เคียงเด็กปกติก็จะเพิ่มมากขึ้น
- ลดการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสม
- ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าวที่เกิดจากการไม่สามารถสื่อสารความต้องการได้
- การสื่อความหมายทดแทน ( AAC )
การสื่อความหมายทดแทน ( Augmentative and Alternative Communication ; AAC )
- การรับรู้ผ่านการมองเห็น ( Visual Strategies )
- โปรแกรมการแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร ( Picture Exchange Communication System ; PECS )
- เครื่องโอภา ( Communication Devices )
- โปรแกรมปราศัย
การส่งเสริมพัฒนาการ
- ให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
- เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา การมีสมาธิ การฟัง และทำตามคำสั่ง
- ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นที่ล่าช้าควบคู่กับการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร สังคม และการปรับพฤติกรรม
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
- เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อการ และทักษะทางความคิด
- แผนการจักการศึกษาเฉพาะบุคคล
- โรงเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน
ฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
- ทักษะในชีวิตประจำวันและการฝึกฝนทักษะสังคม
- ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเองเต็มความสามารถโดยต้องการความช่วยเหลือน้อยที่สุด
การรักษาด้วยยา
- Methylphenidate ( Ritalin ) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง / ซน / หุนหันพลันแล่น / ขาดสมาธิ
- Risperidone / Haloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด หุนหันพลันแล่น พฤติกรรมซ้ำๆ พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
- ยาในกลุ่ม Anticonvulsant ( ยากันชัก ) ใช้ได้ผลในรายที่มีพฤติกรรมทำร้ายตัวเอง
การบำบัดทางเลือก
- การสื่อความหมายทดแทน ( AAC )
- ศิลปกรรมบำบัด ( Art Therapy )
- ดนตรีบำบัด ( Music Therapy )
- การฝังเข็ม ( Acupuncture )
- การบำบัดด้วยสัตว์ ( Animal Therapy )
พ่อแม่
- ลูกต้องพัฒนาได้
- เรารักลูกของเราไม่ว่าเข้าจะเป็นอย่างไร
- ถ้าเราไม่รักและใครจะรัก
- หยุดไม่ได้
- ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้เข้มแข็ง
- ไม่กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส
- ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12 (21/01/57)
กิจกรรมการเรียนการสอน
- พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ หมายถึงเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากวาเด็กปกติในวัยเดียวกัน พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านหรือทุกด้าน และพัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลในพัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
- ปัจจัยทางด้านชีวภาพ เกี่ยวข้องกับลักษณะทางพันธุกรรม
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด การติดเชื้อ สารพิษ สภาวะทางโภชนาการ
- ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด การเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
- ปัจจัยทางด้านสภาวะแวดล้อมหลังคลอด สภาวะหลังคลอด ปัจจัยด้านระบบประสาท และสภาพแวดล้อมส่งผลร่วมต่อพัฒนาการของเด็ก
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. โรคทางพันธุกรรม
2. โรคของระบบประสาท
3. การติดเชื้อ
4. การผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
5. ภาวะแทรกซ้อนระยะเกิด
6. สารเคมี
7. การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ มีพัฒนาการล่าช้าอาจจะพบมากกว่า 1 ด้าน
แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ1. การซักประวัติ
2. การตรวจร่างกาย
3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4. การประเมินพัฒนาการ
แนวทางในการดูแลรักษา
1. หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการล่าช้า
2. การตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
3. การรักษาสาเหตุโดยตรง
4. การส่งเสริมพัฒนาการ
5. ให้คำปรึกษากับครอบครัว
สรุปขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. การตรวคิดกรองพัฒนาการ
2. การตรวประเมินพัฒนาการ
3. การให้การวินิจฉัยและสาเหตุ
4. การให้การรักษาและส่งเสริมพัฒนาการ
5. การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ
บริการที่สำคัญสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. การตรวจการได้ยิน
2. การให้คำปรึกษาครอบครัว
3. การจัดโปรแกรมการศึกษา
4. บริการทางการแพทย์
5. บริการทางการพยาบาล
6. บริการด้านโภชนาการ
7. บริการด้านจิตวิทยา
8. กายภาพบำบัด
9. กิจกรรมบำบัด
10. อรรถบำบัด
- อาจารย์ให้วาดรูปตามแบบ
- อาจารย์ให้นำเสนองานต่อให้เสร็จอีก 2 กลุ่ม มีเรื่อง ดาวซินโดม และ ออทิสติก
- อาจารย์นัดสอบในสัปดาห์หน้า
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11 (14/01/57)
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากสถานการณ์บ้านเมือง
หมายเหตุ ต้องหาเวลาชดเชย 1 วัน
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10 (07/01/57)
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์ให้พรีเซ็นงานและแจกใบประเมินการรายงานของเพื่อนแต่ละกลุ่ม
- อาจารย์แจกชีส พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
สาเหตุ1. มีความผิดปกติเกิดขึ้นตั้งแต่เด็กอยู่ในครรภ์มารดา เช่น มารดาเป็นโรคหัดเยอรมัน มารดาขาดอาหารอย่างรุ่นแรง เป็นต้น เป็นผลให้สมองมีการเจริญเติบโตผิดปกติ
2. เด็กคลอดยาก
3. มีอาการดีซ่านอย่างรุ่นแรงในระยะหลังคลอด
4. เป็นภาวะแทรกซ้อนจากโรคทางสมอง
อาการ- มีพัฒนาการช้ากว่าเด็กปกติ
- กล้ามเนื้อจะเกร็งตัวมาก
- มีความเคลื่อนไหวผิดปกติ
สาเหตุ- การได้รับบาดเจ็บทางสมอง
- พันธุกรรม
- สิ่งแวดล้อม
ประเภทของ LD1. LD ด้านการเขียนสะกดคำ
2. LD ด้านการอ่าน
3. LD ด้านการคำนวณ
4. LD หลายๆ ด้านรวมกัน
อาการ
- แยกแยะขนาดสีและรูปร่างไม่ออก
- มีปัญาหาความเข้าใจเกี่ยวกับเวลา
- เขียน/อ่านตัวอักษรสลับซ้ายขวา
- สมาธิไม่ดี
- ทำงานช้า
- ฟังคำสับสน
สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของสมองแต่ระบุไม่ได้ว่าเกิดจากสาเหตุใดที่ทำให้สมองผิดปกติ
อาการ
1. อาการซนมากกว่าปกติ
2. อาการสมาธิสั้น หรือไม่มีสมาธิ
3. อาการหุนหันพลันแลน
การักษา1. จัดตารางชีวิตให้เป็นระบบ
2. เลือกกิจกรรมให้เหมาะสม
3. ทำงานบ้าน
4. สอนแบบค่อยเป็นค่อยไป
5. ให้เวลา
6. จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7 (17/12/56)
** ไม่มีการเรียนการสอน**
เนื่องจากมีการแข่งกีฬา เทา-เหลือง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6 (09/12/56)
** ไม่มีการเรียนการสอน**
เนื่องจากเป็นวันหยุดราชกาล วันรัฐธรรมนูญ
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5 (03/12/56)
** ไม่มีการเรียนการสอน**
เนื่องจากอุปกรณ์ในการเรียนขัดข้องอาจารย์เลยให้เอางานวิชาอื่นที่ค้างคามาทำในคาบเรียน
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4 (26/11/56)
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์อธิบายประเภทของเด็กพิเศษต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
( Childeren with Behavioral and Emotional Disorders ) - เด็กที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินานๆ ไม่ได้
- เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
- ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
แบ่งได้ 2 ประเภท 1. เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
2. เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้
เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์ มักมีพฤติกรรมที่เห็นได้ชัด คือ - วิตกกังวล
- หนีสังคม
- ก้าวร้าว
การจัดว่าเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้ - สภาพแวดล้อม
- ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก - ไม่สามารถเรียนหนังสือได้
- รักษาความสัมพันธ์ความเพื่อนและครูไม่ได้
- มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกัน
- มีความคับข้องใจ และ มีความเก็บกดทางอารมณ์
- แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ
- มีความหวาดกลัว
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก - เด็กสมาธิสั้น
- เด็กออทิสติก หรือ ออทิสซึ่ม
เด็กสมาธิสั้น - เรียกย่อๆว่า ADHD
- เด็กที่ซนอยู่ไม่นิ่ง
- มีปัญหาสมาธิบกพร่อง
ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ - อุจจาระ ปัสสาวะ รดเสื้อผ้าหรือที่นอน
- ยังติดขวดนม
- ดูดนิ้ว กัดเล็บ
- หงอยเหงา เศร้าซึม
- เรียกร้องความสนใจ
- อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสิ่งเร้า
- ขี้อิจฉา ริษยา ก้าวร้าว
- ฝันกลางวัน
- พูดเพ้อเจ้อ
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ( Children with Learning Disability ) - เรียกย่อๆว่า L.D.
- มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
- มีปัญหาทางการใช้ภาษาหรือการพูด
- ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน
ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ - มีปัญหาทักษะทางคณิตศาสตร์
- ปฏิบัติตามคำสั่งไม่ได้
- เล่าเรื่อง
- มีปัญหาทางด้านการอ่านการเขียน
- ซุ่มซ่าม
- รับลูกบอลไม่ได้
- ติดกระดุมไม่ได้
- เอาแต่ใจตนเอง
8. เด็กออทิสติก ( Autistic ) - หรือเด็กออทิสซึ่ม ( Autisum )
- เด็กที่มีความบกพร่องทางอารมณ์อย่างรุนแรงในการสื่อความหมาย
พฤติกรรมสังคม - เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักเป็นของตนเอง
- ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิต
- ทักษะทางภาษา
- ทักษะทางสังคม
- ทักษะการเคลื่อนไหว
- ทักษะรูปร่าง ขนาด
ลักษณะของเด็กออทิสติก - อยู่ในโลกของตนเอง
- ไม่เข้าไปหาใครเพื่อปลอบใจ
- ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
- ไม่ยอมพูด
- เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
- ยึดติดกับวัตถุ
- ต่อต้านหรือแสดงกิริยาอารมณ์รุนแรง
- มีท่าทางเหมือนคนหูหนวก
- ใช้วิธีการสัมผัสและเรียนรู้สิ่งต่างๆ
9. เด็กพิการซ้อน ( Children With Multiple Handicaps ) - เด็กมีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง
- เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
- เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
- เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด
- เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
- ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
แบ่งได้ 2 ประเภท 1. เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
2. เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้
เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์ มักมีพฤติกรรมที่เห็นได้ชัด คือ - วิตกกังวล
- หนีสังคม
- ก้าวร้าว
การจัดว่าเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้ - สภาพแวดล้อม
- ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก - ไม่สามารถเรียนหนังสือได้
- รักษาความสัมพันธ์ความเพื่อนและครูไม่ได้
- มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกัน
- มีความคับข้องใจ และ มีความเก็บกดทางอารมณ์
- แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ
- มีความหวาดกลัว
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก - เด็กสมาธิสั้น
- เด็กออทิสติก หรือ ออทิสซึ่ม
เด็กสมาธิสั้น - เรียกย่อๆว่า ADHD
- เด็กที่ซนอยู่ไม่นิ่ง
- มีปัญหาสมาธิบกพร่อง
ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ - อุจจาระ ปัสสาวะ รดเสื้อผ้าหรือที่นอน
- ยังติดขวดนม
- ดูดนิ้ว กัดเล็บ
- หงอยเหงา เศร้าซึม
- เรียกร้องความสนใจ
- อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสิ่งเร้า
- ขี้อิจฉา ริษยา ก้าวร้าว
- ฝันกลางวัน
- พูดเพ้อเจ้อ
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ( Children with Learning Disability ) - เรียกย่อๆว่า L.D.
- มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
- มีปัญหาทางการใช้ภาษาหรือการพูด
- ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน
ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ - มีปัญหาทักษะทางคณิตศาสตร์
- ปฏิบัติตามคำสั่งไม่ได้
- เล่าเรื่อง
- มีปัญหาทางด้านการอ่านการเขียน
- ซุ่มซ่าม
- รับลูกบอลไม่ได้
- ติดกระดุมไม่ได้
- เอาแต่ใจตนเอง
8. เด็กออทิสติก ( Autistic ) - หรือเด็กออทิสซึ่ม ( Autisum )
- เด็กที่มีความบกพร่องทางอารมณ์อย่างรุนแรงในการสื่อความหมาย
พฤติกรรมสังคม - เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักเป็นของตนเอง
- ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิต
- ทักษะทางภาษา
- ทักษะทางสังคม
- ทักษะการเคลื่อนไหว
- ทักษะรูปร่าง ขนาด
ลักษณะของเด็กออทิสติก - อยู่ในโลกของตนเอง
- ไม่เข้าไปหาใครเพื่อปลอบใจ
- ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
- ไม่ยอมพูด
- เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
- ยึดติดกับวัตถุ
- ต่อต้านหรือแสดงกิริยาอารมณ์รุนแรง
- มีท่าทางเหมือนคนหูหนวก
- ใช้วิธีการสัมผัสและเรียนรู้สิ่งต่างๆ
9. เด็กพิการซ้อน ( Children With Multiple Handicaps ) - เด็กมีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง
- เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
- เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
- เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด
- อาจารย์ให้ดูโทรทัศน์ครูเรื่อง "ห้องเรียนแรกของเด็กพิเศษ" แล้วสรุปเป็น My Map ส่งท้ายคาบ
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3 (19/11/56)
กิจกรรมการเรียนการสอน
- วันนี้อาจารย์ได้สอน 2 เรื่อง คือ เรื่อง เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย และสุขภาพ และ เรื่องเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด และ ภาษา
(lChildren with Physical and Health Impairments) มีดังนี้ คือ1.1 เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
1.2อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
1.3มีปัญหาทางระบบประสาท
1.4มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย และสุขภาพ สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท 1.1อาการบกพร่องทางร่างกายคือ
- เด็กซีพี (Cerebral Palsy) มีลักษณะ คือ อัมพาต สมองพิการ หรือ สมองที่กำลังถูกพัฒนาก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด
- การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพีมีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่างๆของสมองแตกต่างกัน
อาการของโรค- อัมพาตเกร็งแขนขา หรือ ครึ่งซีก (Spastic)
-อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Atnetoid)
-อัมพาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia)
-อัมพาตตึงแข็ง (Regid)
-อัมพาตแบบผสม (Mixed)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy)-เกิดจากเส้นประสาทสมองควบคุมกล้ามเนื้อ ส่วนนั้นๆ เสื่อมสลายตัว
-เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
-จะมีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่ลง สติปัญญาเสื่อม
1.2อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
1.3มีปัญหาทางระบบประสาท
1.4มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย และสุขภาพ สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท 1.1อาการบกพร่องทางร่างกายคือ
- เด็กซีพี (Cerebral Palsy) มีลักษณะ คือ อัมพาต สมองพิการ หรือ สมองที่กำลังถูกพัฒนาก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด
- การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพีมีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่างๆของสมองแตกต่างกัน
อาการของโรค- อัมพาตเกร็งแขนขา หรือ ครึ่งซีก (Spastic)
-อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Atnetoid)
-อัมพาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia)
-อัมพาตตึงแข็ง (Regid)
-อัมพาตแบบผสม (Mixed)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy)-เกิดจากเส้นประสาทสมองควบคุมกล้ามเนื้อ ส่วนนั้นๆ เสื่อมสลายตัว
-เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
-จะมีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่ลง สติปัญญาเสื่อม
โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic) คือ ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก (Club Foot) กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อน เนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด (Spina Bifida)
-ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่นวัณโรค กระดูก หลังโกง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรังมีหนองเศษกระดูกผุ
-กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสบ
โปลิโอ (Polimyelitis)
-มีอาการกล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
-ยืนไม่ได้หรืออาจปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสร
ความบกพร่องทางสุภาพ-โรคลมชัก (Epilepsy) เป็นลักษณะอาการที่เกิดเนื่องจากความผิดปกติของระบบสมอง มีดังนี้
-ลมบ้าหมู (Grand Mal) เมื่อเกิดอาการชัก จะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึก ในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็งแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น
-การชักในช่วงเวลาสั้นๆ(Petit Mal) มีอาการ ชักชั่วระยะสั้นๆ5-10 วินาที เมื่อเกิดอาการชักเด็กจะหยุดชะงัก ในท่าก่อนชัก เด็กจะนั่งเฉย หรือเด็กอาจจะตัวสั่นเล็กน้อย
-การชักแบบรุนแรง ( Grand Mal) เมื่อเกิดอาการชัก เด็กจะส่งเสียง หมดความรู้สึก ล้มลง กล้ามเนื้อเกร็ง เกิดขึ้นราวๆ 2-5 นาที จากนั้นจะหาย และ นอนหลับไปชั่วครู่
-อาการชักแบบ (Partial Complex) เกิดอาการเป็นระยะๆ กัดริมฝีปาก ไม่รู้สึกตัว ถูตามแขนขา เดินไปมา บางคนอาจจะเกิดความโกรธ หรือโมโห หลังชักอาจจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ และต้องนอนพัก
-อาการแบบไม่รู้ตัว (Focal Partial) เป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้น เด็กไม่รู้สึกตัว อาจทำอะไรบางอย่างโดยที่ตัวเองไม่รู้ เช่น ร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า เดินเหม่อลอย แต่ไม่มีอาการชัก
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ-มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
-ท่าเดินคล้ายกรรไกร
-เดินขากะเผลก หรือ อึดอาดเชื่องช้า
-ไอเสียงแห้งบ่อยๆ
-มักบ่นเจ็บหน้าอก บ่นปวดหลัง
-หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจางบนแก้ม ริมฝีปาก หรือ ปลายนิ้ว
-หกล้มบ่อยๆ
-หิวและกระหายน้ำอย่างเกินกว่าเหตุ
2.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา (Children with Speech and Language Disorders)
-ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่นวัณโรค กระดูก หลังโกง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรังมีหนองเศษกระดูกผุ
-กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสบ
โปลิโอ (Polimyelitis)
-มีอาการกล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
-ยืนไม่ได้หรืออาจปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสร
ความบกพร่องทางสุภาพ-โรคลมชัก (Epilepsy) เป็นลักษณะอาการที่เกิดเนื่องจากความผิดปกติของระบบสมอง มีดังนี้
-ลมบ้าหมู (Grand Mal) เมื่อเกิดอาการชัก จะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึก ในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็งแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น
-การชักในช่วงเวลาสั้นๆ(Petit Mal) มีอาการ ชักชั่วระยะสั้นๆ5-10 วินาที เมื่อเกิดอาการชักเด็กจะหยุดชะงัก ในท่าก่อนชัก เด็กจะนั่งเฉย หรือเด็กอาจจะตัวสั่นเล็กน้อย
-การชักแบบรุนแรง ( Grand Mal) เมื่อเกิดอาการชัก เด็กจะส่งเสียง หมดความรู้สึก ล้มลง กล้ามเนื้อเกร็ง เกิดขึ้นราวๆ 2-5 นาที จากนั้นจะหาย และ นอนหลับไปชั่วครู่
-อาการชักแบบ (Partial Complex) เกิดอาการเป็นระยะๆ กัดริมฝีปาก ไม่รู้สึกตัว ถูตามแขนขา เดินไปมา บางคนอาจจะเกิดความโกรธ หรือโมโห หลังชักอาจจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ และต้องนอนพัก
-อาการแบบไม่รู้ตัว (Focal Partial) เป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้น เด็กไม่รู้สึกตัว อาจทำอะไรบางอย่างโดยที่ตัวเองไม่รู้ เช่น ร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า เดินเหม่อลอย แต่ไม่มีอาการชัก
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ-มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
-ท่าเดินคล้ายกรรไกร
-เดินขากะเผลก หรือ อึดอาดเชื่องช้า
-ไอเสียงแห้งบ่อยๆ
-มักบ่นเจ็บหน้าอก บ่นปวดหลัง
-หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจางบนแก้ม ริมฝีปาก หรือ ปลายนิ้ว
-หกล้มบ่อยๆ
-หิวและกระหายน้ำอย่างเกินกว่าเหตุ
2.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา (Children with Speech and Language Disorders)
เด็กที่พูดไม่ชัด ออกเสียงเพี้ยน อวัยวะที่ใช้ในการพูด ไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้น การใช้อวัยวะเพื่อการพูด ไม่เป็นไปดังตั้งใจ มีอากัปกิริยาที่ผิดปกติขณะพูด
2.1ความผิดปกติด้านการออกเสียง-ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
-เพิ่มหน่วยเสียงเข้าในคำโดยไม่จำเป็น
-เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด เป็นฟาด
2.2ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด เช่น การพูดรัว การพูดติดอ่าง
2.3ความผิดปกติด้านเสียง มีดังนี้-ระดับเสียง
-ความดัง
-คุณภาพของเสียง
2.4 ความผิดปกติทางการพูด และภาษา อันเนื่องมาจาก พยาธิ สภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า (Dysphasia หรือ aphasia) มีดังนี้
2.4.1 Motor aphasia
- เด็กที่เข้าใจคำถาม หรือคำสั่ง แต่พูดไม่ได้ ออกเสียงลำบาก
-พูดช้าๆพอพูดตามได้บ้างเล็กน้อย บอกชื่อสิ่งของพอได้
-พูดไม่ถูกไวยากรณ์
2.4.2 Wernicke 's apasia
-เด็กที่ไม่เข้าใจคำถาม หรือคำสั่งได้ยินแต่ไม่เข้าใจ ความหมาย
-ออกเสียงไม่ติดขัด แต่มักใช้คำผิดๆ หรือใช้คำอื่นซึ่งไม่มีความหมายมาแทน
2.4.3 Conduction aphasia
-เด็กที่ออกเสียงได้ไม่ติดขัด เข้าใจคำถามดี แต่พูดตาม หรือ บอกชื่อสิ่งของไม่ได้ มักเกิดร่วมไปกับอัมพาตของร่างกายซีกขวา
2.4.4 Nominal aphasia
-เด็กที่ออกเสียงได้ เข้าใจคำถามดี พูดตามได้ แต่บอกชื่อวัตุไม่ได้เพราะลืมชื่อ บางทีก็ไม่เข้าใจความหมายของคำ มักเกิด ร่วมไปกับ Gerstmann's syndrome
2.4.5 Global aphasia
-เด็กที่ไม่เข้าใจทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน
-พูดไม่ได้เลย
2.4.6 Sensory agraphia
-เด็กที่เขียนเองไม่ได้ เขียนตอบคำถาม หรือ เขียนชื่อวัตถุ ก็ ไม่ได้ มักเกิดร่วมกับ Gerstmann's syndrome
2.4.7 Motor agraphia
-เด็กที่ลอกตัวเขียน หรือ ตัวพิมพ์ ไม่ได้
-เขียนตามคำบอกไมได้
2.4.8 Cortical alexia
-เด็กที่อ่านไม่ออก เพราะไม่เข้าใจภาษา
2.4.9 Motor alexia
-เด็กที่เห็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ เข้าใจความหมาย แต่อ่านออกเสียงไม่ได้
2.4.10 Gerstmann's syndrome
-ไม่รู้ชื่อนิ้ว (Finger agnosia)
-ไม่รู้ชี้ซ้ายขวา (Allochiria)
-คำนวณไม่ได้ (Acalculia)
-เขียนไม่ได้ (Agraphia)
-อ่านไม่ออก(Alexia)
2.4.11 Visual agnosia
-เด็กที่มองเห็นวัตถุ แต่ไม่รู้ว่าเป็นอะไร บางทีบอกชื่อนิ้วตัวเองไม่ได้
2.4.12 Auditory agnosia
- เด็กที่ไม่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แต่แปลความหมายของคำ หรืือประโยคที่ได้ยินไม่เข้าใจ
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา-ในวัยทารกมักเงียบผิดธรรมชาติ ร้องไห้เบาๆ และอ่อนแรง
-ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ 10เดือน
-ไม่พูดภายในอายุ 2ขวบ
-หลัง 3 ขวบ แล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
-ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
-หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถาศึกษา
-มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุกตะกัก
-ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย
2.1ความผิดปกติด้านการออกเสียง-ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
-เพิ่มหน่วยเสียงเข้าในคำโดยไม่จำเป็น
-เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด เป็นฟาด
2.2ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด เช่น การพูดรัว การพูดติดอ่าง
2.3ความผิดปกติด้านเสียง มีดังนี้-ระดับเสียง
-ความดัง
-คุณภาพของเสียง
2.4 ความผิดปกติทางการพูด และภาษา อันเนื่องมาจาก พยาธิ สภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า (Dysphasia หรือ aphasia) มีดังนี้
2.4.1 Motor aphasia
- เด็กที่เข้าใจคำถาม หรือคำสั่ง แต่พูดไม่ได้ ออกเสียงลำบาก
-พูดช้าๆพอพูดตามได้บ้างเล็กน้อย บอกชื่อสิ่งของพอได้
-พูดไม่ถูกไวยากรณ์
2.4.2 Wernicke 's apasia
-เด็กที่ไม่เข้าใจคำถาม หรือคำสั่งได้ยินแต่ไม่เข้าใจ ความหมาย
-ออกเสียงไม่ติดขัด แต่มักใช้คำผิดๆ หรือใช้คำอื่นซึ่งไม่มีความหมายมาแทน
2.4.3 Conduction aphasia
-เด็กที่ออกเสียงได้ไม่ติดขัด เข้าใจคำถามดี แต่พูดตาม หรือ บอกชื่อสิ่งของไม่ได้ มักเกิดร่วมไปกับอัมพาตของร่างกายซีกขวา
2.4.4 Nominal aphasia
-เด็กที่ออกเสียงได้ เข้าใจคำถามดี พูดตามได้ แต่บอกชื่อวัตุไม่ได้เพราะลืมชื่อ บางทีก็ไม่เข้าใจความหมายของคำ มักเกิด ร่วมไปกับ Gerstmann's syndrome
2.4.5 Global aphasia
-เด็กที่ไม่เข้าใจทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน
-พูดไม่ได้เลย
2.4.6 Sensory agraphia
-เด็กที่เขียนเองไม่ได้ เขียนตอบคำถาม หรือ เขียนชื่อวัตถุ ก็ ไม่ได้ มักเกิดร่วมกับ Gerstmann's syndrome
2.4.7 Motor agraphia
-เด็กที่ลอกตัวเขียน หรือ ตัวพิมพ์ ไม่ได้
-เขียนตามคำบอกไมได้
2.4.8 Cortical alexia
-เด็กที่อ่านไม่ออก เพราะไม่เข้าใจภาษา
2.4.9 Motor alexia
-เด็กที่เห็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ เข้าใจความหมาย แต่อ่านออกเสียงไม่ได้
2.4.10 Gerstmann's syndrome
-ไม่รู้ชื่อนิ้ว (Finger agnosia)
-ไม่รู้ชี้ซ้ายขวา (Allochiria)
-คำนวณไม่ได้ (Acalculia)
-เขียนไม่ได้ (Agraphia)
-อ่านไม่ออก(Alexia)
2.4.11 Visual agnosia
-เด็กที่มองเห็นวัตถุ แต่ไม่รู้ว่าเป็นอะไร บางทีบอกชื่อนิ้วตัวเองไม่ได้
2.4.12 Auditory agnosia
- เด็กที่ไม่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แต่แปลความหมายของคำ หรืือประโยคที่ได้ยินไม่เข้าใจ
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา-ในวัยทารกมักเงียบผิดธรรมชาติ ร้องไห้เบาๆ และอ่อนแรง
-ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ 10เดือน
-ไม่พูดภายในอายุ 2ขวบ
-หลัง 3 ขวบ แล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
-ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
-หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถาศึกษา
-มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุกตะกัก
-ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2 (12/11/56)
กิจกรรมการเรียนการสอน
ทางการศึกษาได้ให้ความหมายเด็กพิเศษ All Childrer Can Cearn! เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้สรุปได้ว่า
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ หมายถึง - เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจาการให้การช่วยเหลือและการสอนตามปกติ
- มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
- จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นช่วยเหลือการบำบัดฟื้นฟู
- จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ มี 10 ประเภท แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา เรียกโดยทั่วไปว่า " เด็กปัญญาเลิศ "
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
- มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
- จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นช่วยเหลือการบำบัดฟื้นฟู
- จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ มี 10 ประเภท แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา เรียกโดยทั่วไปว่า " เด็กปัญญาเลิศ "
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
1. เด็กบกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และเด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า - สามารถเรียนในชั้นเรียนได้ปกติ
- เด็กทที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา ( IQ ) ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนล่าช้า 1. ภายนอก
- เศรษฐกิจครอบครัว
- การเสริมสร้างประสบการณ์ของคนในครอบครัว
- สภาวะทางด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
- การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
- วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
2. ภายใน
- พัฒนาการช้า
- การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน - เด็กที่มีภาวะพัฒนาการหยุดชะงัก
- แสดงลักษณะเฉพาะ คือ ระดับสติปัญญาต่ำ
- มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย
- มีความจำกัดทางด้านทักษะ
- มีพัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีความสามารถจำกัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
เด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามระดับสติปัญญา ( IQ ) ได้ 4 กลุ่มลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา - ไม่พูดหรือพูดไม่สมกับวัย
- ช่วงความสนใจสั้น
- ความคิด อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย
- ทำงานช้า
- รุนแรงไม่มีเหตุผล
- อวัยวะมีรูปร่างผิดปกติกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
- ช่วยเหลือตนเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
2. เด็กบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องหรือเด็กที่สูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินแต่สามารถรับข้อมูลได้โดยใช้เครื่องช่วยฟังจำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
เด็กหูหนวก - เด็กที่สูญเสียการได้ยิน
- เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
- ไม่เข้าใจภาษาพูด
- ระดับได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน - ไม่ตอบสนองเสียงพูด
- ไม่พูดมักแสดงออกด้วยท่าทาง
- พูดไม่ถูกหลักไวยากรณ์
- พูดด้วยเสียงแปลก
- พูดด้วยเสียงต่ำหรือเสียงดังเกิน
- เวลาฟังมักมองปากของคนพูด
- รู้สึกไวต่อแรงสั่นสะเทือน
- มักทำหน้าเด๋อเมื่อมีการพูดด้วย
3. บกพร่องทางการมองเห็น - เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง
- มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
- สามารถมองเห็นได้ 1/10
- มีลานสายตากว้าไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และ เด็กตาบอดไม่สนิท เด็กตาบอด - ไม่สามารถมองเห็นได้เลยหรือมองเห็นบ้าง
- ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
- มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60 , 2/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
เด็กตาบอดไม่สนิท - มีความบกพร่องทางสายตา
- เห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติก
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการเห็น - ชนสดุดสิ่งของ
- มองสีผิดไปจากปกติ
- มักบ่นว่าปวดศีรษะ ตาลาย
- ก้มศีรษะชิดกับงาน
- เพ่งตา หรี่ตา
- ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
- แยกแยะรูปเรขาคณิตไม่ได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)